ค้นหา

 
ค้นหาจาก: tags — อนุบาล [x]
ผลการค้นหา 42 รายการ

การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านภาษา

... เป็นเครื่องมือในการสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการของสมองในการเรียนรู้ภาษา สมองของเด็กเล็กสามารถเรียนภาษาได้ทั่วโลก ในวัยอนุบาล สมองเด็กโตเป็น 9 ใน 10 ของขนาดสมองผู้ใหญ่ การที่สมองของเด็กโตรวดเร็วยิ่งกว่าส่วนใดๆ ...

การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านการเคลื่อนไหว

เด็กเล็กมุ่งเน้นที่การพัฒนาผิวสัมผัส สมดุลร่างกาย และสัมพันธภาพของร่างกาย ผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว พัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว การพัฒนาด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นการพัฒนาโครงสร้างทั้งระบบของร่างกาย ที่ใช้ในการควบคุมสั่งการตัวเอง และการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม ขอให้สังเกตดูว่า ลูกแมวมีการพัฒนาตัวเองอย่างมากในวัยแรกเกิด มันฝึกฝนท่วงท่าในการเดิน วิ่ง กระโดด ตีลังกา ตะปบ กอดรัดฟัดเหวี่ยง จนในที่สุด ร่างกายก็พร้อมที่จะออกไปสู่โลกภายนอก กระบวนการพัฒนาร่างกาย และการเคลื่อนไหวของเด็ก จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นอย่างเต็มที่...

การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร Brain-Based Learning ด้านศิลปะและการสร้างสรรค์

ศิลปะของเด็กเล็ก ไม่เน้นความเหมือนจริง แต่มุ่งเน้นที่การถ่ายทอดสิ่งที่เห็น สิ่งที่จินตนาการ ออกมาเป็นรูปธรรม พัฒนาการด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ ทำไมเด็กต้องเรียนรู้ศิลปะ? บางคนคิดว่า ศิลปะเป็นเรื่องของคนที่มีพรสวรรค์ บางคนคิดว่า เราสอนศิลปะเพื่อช่วยให้เด็กเบาสมอง แต่ที่จริงศิลปะเป็นผลงานอันเก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์ได้ทำมา เช่น ภาพเขียนตามผนังถ้ำ และการประดิษฐ์ขวาน หม้อ เกวียน เหล่านี้เป็นศิลปะทั้งสิ้น เด็กทุกคนสร้างงานศิลปะได้ และชอบงานศิลปะ การจะพัฒนาศิลปะและการสร้างสรรค์ให้เด็ก ต้องเข้าใจว่า ศิลปะก็คือ...

จัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านอารมณ์และจิตใจ

... สมองถูกออกแบบมาให้พอใจกับการมีสัมพันธภาพ โดยมีระบบของอารมณ์เป็นตัวกระตุ้นหรือตัวยับยั้ง เด็กยังไม่มีความคิดเห็นแก่ตัว ในวัยอนุบาลนี้ เด็กยังคงต้องการความรัก ความอบอุ่น โอบ กอด สัมผัส เล่นบทบาทสมมติ ครอบครัวควรทำบ้านให้น่าอยู่ ...

พัฒนาการสมองของเด็กวัย 3 - 6 ปี

สมองปฐมวัย วัยเคลื่อนไหว วัยสัมผัสจับต้อง เด็กเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว สำรวจตรวจสอบสิ่งใกล้ตัว โดยรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส และอารมณ์ที่สนุกสนาน พัฒนาการด้านโครงสร้างและการทำงานของสมอง สมองส่วนใหญ่ของเด็กวัยนี้จะอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา สมองส่วนรับความรู้สึกมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นมากที่สุดในระยะนี้ ประสาทสัมผัสและการรับรู้ต่างๆ พัฒนาชัดเจนขึ้น การกระตุ้นโดยสัมผัสจะช่วยกระตุ้นการทำงานประสานกันของส่วนรับสัมผัสของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เมื่อสถานีรับข้อมูลจากภายนอกพัฒนาได้เร็ว ก็จะส่งผ่านข้อมูลไปกระตุ้นการทำงานของระบบอื่นๆ...

สมองเรียนรู้อย่างไร

... สมองประกอบด้วยเครือข่ายเซลล์สมองที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งมีความสำคัญมากต่อการเรียนรู้ มีรายงานผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า เด็กอนุบาลสามารถเรียนรู้ภาษาพร้อมกันได้ถึง 7 ภาษา นักวิทยาศาสตร์ให้ข้อสังเกตว่า เด็กมีศักยภาพที่จะพูดได้กว่า ...

เรื่องจริงสะกิดจอ: เรียนรู้สิ่งที่รัก รักในสิ่งที่เรียนรู้

เรียนรู้สิ่งที่รัก รักในสิ่งที่เรียนรู้ การเลี้ยงดูลูกวัย (7 - 10 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง คลิปจากผู้ชมรายการ การเลี้ยงดูลูกวัย (7 - 10 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง

เปิดโลกใบเล็ก สู่โลกกว้าง

เปิดโลกทัศน์ของเด็กให้กว้างขึ้นด้วยการนำเด็กไปรู้จักกับแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัว สมองดีสร้างได้ ... รายการที่นำคุณพ่อคุณแม่และครูผู้มีส่วนในการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยมารู้จักกับหลักการจัดการเรียนรู้ตามพัฒนาการโครงสร้างและการทำงานของสมอง เอื้อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน และเติบโตสมวัยตามพัฒนาการครบทุกด้าน พร้อมสำหรับการเรียนรู้ในขั้นที่สูงขึ้นไป เปิดโลกทัศน์ของเด็กให้กว้างขึ้นด้วยการนำเด็กไปรู้จักกับแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัว เชื่อมโยงกับประสบการณ์น้อยนิดที่เด็กมีอยู่ แล้วขยายออกตามความสนใจของเด็ก...

หนูรู้จริงนะ

เมื่อสมองรับรู้ถึงความสามารถของตนเอง จะนำไปสู่การปรับปรุงเติมแต่งแก้ไข หรือท้าทายให้เกิดการเรียนรู้ในระดับที่ซับซ้อนขึ้น สมองดีสร้างได้ ... รายการที่นำคุณพ่อคุณแม่และครูผู้มีส่วนในการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยมารู้จักกับหลักการจัดการเรียนรู้ตามพัฒนาการโครงสร้างและการทำงานของสมอง เอื้อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน และเติบโตสมวัยตามพัฒนาการครบทุกด้าน พร้อมสำหรับการเรียนรู้ในขั้นที่สูงขึ้นไป สมองต้องการการตอบสนองทันที ผลที่ได้จากการลงมือทำทำให้เด็กเห็นถึงระดับความสามารถของตนเอง ดังนั้น...

เรื่องจริงสะกิดจอ: เรียนรู้ได้ดี เมื่อไม่รู้ตัว

เรียนรู้ได้ดี เมื่อไม่รู้ตัว การเลี้ยงดูลูกวัย (0 – 2 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง คลิปจากผู้ชมรายการ การเลี้ยงดูลูกวัย (0 – 2 ปี) ตามหลักการพัฒนาสมอง
Pages: Prev. 1 2 3 4 5 Next