ค้นหา

 
ค้นหาจาก: tags — สมองกับการเรียนรู้ [x]
ผลการค้นหา 69 รายการ

การจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้อนุบาล

สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการเรียนรู้ ในเด็กเล็กที่สมองกำลังเก็บรับประสบการณ์จากการรับสัมผัส โรงเรียนอนุบาลเป็นสถานที่อุ้มชู ดูแล พัฒนาเด็กเล็ก คำว่า อนุบาล ในพจนานุกรม อธิบายว่า คอยเลี้ยงดู คอยระวัง ทั้งนี้เพราะเด็กยังอยู่ในวัยเยาว์ สมองของเด็กอนุบาล อยู่ในระยะที่กำลังเก็บรับประสบการณ์จากการเคลื่อนไหวร่างกายทุกส่วน และพัฒนาระบบสัมผัส คือ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสแบบต่างๆ เพื่อให้ประสบการณ์นั้นฉายภาพมายังตำแหน่งต่างๆ ในสมอง ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลจึงควรจัดพื้นที่ในการเรียนรู้ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการสมองวัยอนุบาล...

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองอนุบาล

สมองส่วนรับสัมผัส และส่วนเคลื่อนไหว ของเด็กปฐมวัย กำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว การจัดประสบการณ์การเรียนรู้จึงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาระบบการเคลื่อนไหว และระบบรับสัมผัสควบคู่ไปกับอารมณ์เชิงบวก แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning วางอยู่บนฐานคิดที่เข้าใจการทำงานของสมอง หลักการเรียนรู้ของสมอง สมองเป็นอวัยวะ พิเศษ ของร่างกาย ต้องการทั้ง อาหารกาย และ อาหารใจในสัดส่วนที่ ถูกต้อง เหมาะสม ตลอดช่วงอายุ ตั้งแต่ อยู่ในครรภ์มารดา ถึง วัยชราสมองต้องการ อาหารใจทั้งใน การเจริญเติบโต การเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้/การทำงาน...

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนวัยอนุบาล

เด็กและผู้ปกครอง คือส่วนหนึ่งของชุมชน จึงต้องเรียนรู้จักแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ผ่านกิจกรรมที่ได้ปฏิสัมพันธ์กับชุมชนด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การพัฒนาความฉลาดทางกาย พัฒนาการของเด็กอนุบาลเห็นได้ชัดจากความสามารถในควบคุม บังคับ สั่งการร่างกายตัวเองได้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่น สามารถเดิน วิ่ง กระโดด ปีน ขึ้น-ลงบันไดได้ ถ้าทำได้แล้วก็แสดงว่าสมองส่วนที่รับรู้สัมผัส และการสั่งการร่ายกายได้พัฒนามากขึ้นทุกที ผู้ปกครองรู้หรือไม่ เมื่อเด็กเติบโตถึงวัยอนุบาล เขาต้องการการเคลื่อนไหวร่างกายที่ซับซ้อน เขามีความมั่นใจในความสามารถทางร่างกายของเขาเอง...

การวัดและประเมินพัฒนาการอนุบาล

ประเมินพัฒนาการความก้าวหน้าเทียบกับตัวเด็กเอง เพื่อช่วยเหลือให้เด็กก้าวสู่ระดับที่สูงขึ้นด้วยพื้นฐานความเข้าใจที่มั่นคง การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ เป็นประสบการณ์ตรงที่กระตุ้นการทำงานของสมองเด็กโดยตรง การประเมิน เป็นการพยายามวัดผลการพัฒนา/การเรียนรู้ในเวลาที่กำหนด การประเมินผล เป็นกระบวนการที่ผู้สอนต้องการวัดผลดูว่า เด็กมีพัฒนาการเพียงใด หลังจากครูจัดกิจกรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ ให้ การประเมินผลที่ดีต้องติดตามดูกระบวนการเรียนรู้มากกว่าการตัดสินว่าเด็กทำได้หรือไม่ได้ ต้องเน้นกระบวนการและการพัฒนาก้าวหน้าของตัวเด็ก...

การออกแบบกระบวนการเรียนรู้วัยอนุบาล

สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีสิ่งจูงใจ สิ่งจูงใจจะชักนำให้สมองผลิตความรู้ และบันทึกข้อมูลในเรื่องที่ต้องการให้เรียนรู้ เป็นการตะล่อมสร้างกรอบให้กระบวนการเรียนรู้ดำเนินไปตามเจตจำนงของผู้จัดการเรียนรู้ รู้จักสมองก่อนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีสิ่งจูงใจ สิ่งจูงใจจะชักนำให้สมองผลิตความรู้ และบันทึกข้อมูลในเรื่องที่ต้องการให้เรียนรู้ เป็นการตะล่อมสร้างกรอบให้กระบวนการเรียนรู้ดำเนินไปตามเจตจำนงของผู้จัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นผู้หาสิ่งจูงใจต่างๆ นั้นมานำเสนอ ถ้าสิ่งจูงใจนั้นไม่สามารถจูงใจสมองได้...

การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร Brain-Based Learning ด้านการคิด

เด็กเล็กเรียนรู้จากสิ่งที่เป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรม จากสิ่งใกล้ตัวสัมผัสจับต้องได้ ไปสู่สิ่งที่ไกลตัวออกไป แล้วเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ ที่รับรู้มาจากง่ายไปสู่ยากและซับซ้อนขึ้นตามลำดับ พัฒนาการด้านการคิด การพัฒนากระบวนการคิดของเด็กเล็กนั้น คือกระบวนการซึ่งสมองเรียนรู้ที่จะให้ความหมายสิ่งที่เห็น สิ่งที่เผชิญ ตีความ และสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งต่างๆ ที่รับรู้มา การคิดต้องอาศัยการรับรู้ข้อมูลจำนวนมาก เช่น การบวกต้องอาศัยความรู้เรื่องจำนวน และการเพิ่มขึ้น การคิดเกี่ยวกับสัตว์และพืชรอบตัว ก็ต้องอาศัยการรู้จักชนิด...

การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านภาษา

จุดมุ่งหมายของการพัฒนาด้านภาษาของเด็ก คือ ต้องการให้เด็กคิดเป็น สื่อสารเป็น ใช้การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นเครื่องมือในการสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการด้านภาษา พัฒนาการด้านภาษา เป็นพัฒนาการที่จำเป็นที่สุดสำหรับเด็ก เพราะภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับการสื่อสาร เพื่อจะมีชีวิตอยู่ในสังคม การพัฒนาภาษา ไม่ใช่เพียงการฝึกให้เด็กฟัง พูด อ่าน และเขียน แต่การพัฒนาภาษายังเป็นการพัฒนากระบวนการคิด เมื่อคนเราสื่อสาร สมองต้องพยายามเชื่อมโยงสิ่งที่คิดออกมาเป็นการพูด และการเขียน เมื่อฟัง สมองต้องพยายามคิดเทียบเคียงสิ่งที่ฟัง...

การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านการเคลื่อนไหว

เด็กเล็กมุ่งเน้นที่การพัฒนาผิวสัมผัส สมดุลร่างกาย และสัมพันธภาพของร่างกาย ผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว พัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว การพัฒนาด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นการพัฒนาโครงสร้างทั้งระบบของร่างกาย ที่ใช้ในการควบคุมสั่งการตัวเอง และการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม ขอให้สังเกตดูว่า ลูกแมวมีการพัฒนาตัวเองอย่างมากในวัยแรกเกิด มันฝึกฝนท่วงท่าในการเดิน วิ่ง กระโดด ตีลังกา ตะปบ กอดรัดฟัดเหวี่ยง จนในที่สุด ร่างกายก็พร้อมที่จะออกไปสู่โลกภายนอก กระบวนการพัฒนาร่างกาย และการเคลื่อนไหวของเด็ก จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นอย่างเต็มที่...

การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร Brain-Based Learning ด้านศิลปะและการสร้างสรรค์

ศิลปะของเด็กเล็ก ไม่เน้นความเหมือนจริง แต่มุ่งเน้นที่การถ่ายทอดสิ่งที่เห็น สิ่งที่จินตนาการ ออกมาเป็นรูปธรรม พัฒนาการด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ ทำไมเด็กต้องเรียนรู้ศิลปะ? บางคนคิดว่า ศิลปะเป็นเรื่องของคนที่มีพรสวรรค์ บางคนคิดว่า เราสอนศิลปะเพื่อช่วยให้เด็กเบาสมอง แต่ที่จริงศิลปะเป็นผลงานอันเก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์ได้ทำมา เช่น ภาพเขียนตามผนังถ้ำ และการประดิษฐ์ขวาน หม้อ เกวียน เหล่านี้เป็นศิลปะทั้งสิ้น เด็กทุกคนสร้างงานศิลปะได้ และชอบงานศิลปะ การจะพัฒนาศิลปะและการสร้างสรรค์ให้เด็ก ต้องเข้าใจว่า ศิลปะก็คือ...

จัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning ด้านอารมณ์และจิตใจ

เด็กเล็ก เรียนรู้ได้ดีเมื่อสมองส่วนอารมณ์ได้รับการกระตุ้น ความสุข สนุก ตื่นเต้น ซาบซึ้ง ส่งผลในเชิงบวก ในขณะที่ ความเครียด ความกลัว ยับยั้งการเรียนรู้ พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ การพัฒนาเด็กด้านอารมณ์และจิตใจ เป็นการพัฒนาที่มีกระบวนการอันซับซ้อน อารมณ์และจิตใจเป็นผลจากการที่เด็กปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การสะสมของข้อมูลความรู้สึกจำนวนมากๆ ในที่สุดจะก่อรูปเป็นอารมณ์และจิตใจของเด็กเอง ดังนั้นการพัฒนาอารมณ์และจิตใจ จึงไม่ใช่เพียงแต่สนใจทำให้เด็กสนุกและมีความสุข ในชีวิตจริงคนเราไม่ได้ง่ายอย่างนั้น...
Pages: Prev. 1 2 3 4 5 6 7 Next