ค้นหา

 
ค้นหาจาก: tags — กลุ่มระดับการศึกษา [x]
ผลการค้นหา 54 รายการ

รู้จักสมองวัยรุ่น รู้จักลูกวัยรุ่น

พ่อแม่มีบทบาทสำคัญต่อการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาวัยรุ่น พ่อแม่จึงต้องเข้าใจก่อนว่า ลูกวัยรุ่นนั้นไม่เหมือนกับลูกเล็กๆ ที่พ่อแม่เคยดูแลในช่วงปฐมวัย พ่อแม่มีบทบาทสำคัญต่อการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาวัยรุ่น พ่อแม่จึงต้องเข้าใจก่อนว่า ลูกวัยรุ่นนั้นไม่เหมือนกับลูกเล็กๆ ที่พ่อแม่เคยดูแลในช่วงปฐมวัย หากแต่ด้วยความเป็นวัยรุ่นซึ่งมีพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งด้านสมองและร่างกายที่เป็นเฉพาะแบบของวัยรุ่นเองที่ไม่เหมือนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ วัยรุ่นต่างเพศก็ต่างมีธรรมชาติสมองและร่างกายที่แตกต่างกัน การเลี้ยงดูและการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับลูกวัยรุ่นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่พ่อแม่จะต้องเข้าใจ...

พ่อแม่กับการสร้างลูกที่มีคุณภาพ

การทำหน้าที่พ่อแม่ มีความรู้หลายอย่างที่พ่อแม่ต้องทำความเข้าใจ เวทีเสวนา เรื่อง พ่อแม่กับการสร้างลูกที่มีคุณภาพ โดย พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต และ อนุกรรมการขับเคลื่อนงานจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง พญ.นนธนวนัณท์ สุนทรา นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพมหานคร คุณมณฑาทิพย์ เหตานุรักษ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพมหานคร คุณอารีย์รัชต์ ชวกาญจนกิจ : ผู้ดำเนินรายการ นักจัดการความรู้อาวุโส งานพัฒนาสมองเพื่อการเรียนรู้...

แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง

แนวคิดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนนำร่อง BBL ระดับอนุบาลและประถมศึกษา เวทีเสวนา เรื่อง “แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง” โดย อาจารย์ พันธุ์ศักดิ์ ตั้งใจดี ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายประถมศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย อาจารย์ พรรณี ตั้งใจดี ครูผู้สอน โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย อาจารย์ วลัยพร ยะอนันต์ ครูผู้สอน โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย อาจารย์วัฒนสิทธิ์ ชุนโอภาส ครูผู้สอน โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย คุณนลินี โสรณสุทธิ : ผู้ดำเนินรายการ นักจัดการความรู้อาวุโส...

นำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสมองวัยรุ่น

การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการพัฒนาอนาคตของชาติและแก้ปัญหาวัยรุ่นในสังคมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสมองวัยรุ่น โดย ดร.จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ ผู้อำนวยการสถาบันรามจิตติ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสมองวัยรุ่น เป็นเวทีเสวนาวิชาการที่จัดขึ้นในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “10 ปี การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL)” ที่นำเสนอองค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง ที่ได้จากการศึกษาสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยและสถานการณ์ปัจจุบันในบริบทสังคมไทย...

การป้องกันและการแก้ปัญหา "เด็กแว้นและเด็กสก๊อย"

แนวคิดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองใช้ในการพัฒนาอนาคตของชาติและแก้ปัญหา “เด็กแว้นและเด็กสก๊อย” เวทีเสวนาเรื่อง การป้องกันและการแก้ปัญหา “เด็กแว้นและเด็กสก๊อย” โดย พญ.วินัดดา ปิยะศิลป์ หมอสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (รพ.เด็ก) คุณวรากร มณฑาทิพย์ ตัวแทนรุ่นพี่เยาวชนผู้ทำกิจกรรมจิตอาสา เครือข่ายเยาวชนเพชรวิเศษ คุณฉัตรชัย อร่ามโชติ เยาวชนในโครงการเพชรวิเศษ จังหวัดอ่างทอง คุณสรรชัย หนองตรุด : ผู้ดำเนินรายการ หัวหน้าฝ่ายงานสารคดีสถาบันรามจิตติ การป้องกันและการแก้ปัญหา “เด็กแว้นและเด็กสก๊อย”...

การจัดการชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้อนุบาล

สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการเรียนรู้ ในเด็กเล็กที่สมองกำลังเก็บรับประสบการณ์จากการรับสัมผัส โรงเรียนอนุบาลเป็นสถานที่อุ้มชู ดูแล พัฒนาเด็กเล็ก คำว่า อนุบาล ในพจนานุกรม อธิบายว่า คอยเลี้ยงดู คอยระวัง ทั้งนี้เพราะเด็กยังอยู่ในวัยเยาว์ สมองของเด็กอนุบาล อยู่ในระยะที่กำลังเก็บรับประสบการณ์จากการเคลื่อนไหวร่างกายทุกส่วน และพัฒนาระบบสัมผัส คือ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสแบบต่างๆ เพื่อให้ประสบการณ์นั้นฉายภาพมายังตำแหน่งต่างๆ ในสมอง ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลจึงควรจัดพื้นที่ในการเรียนรู้ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการสมองวัยอนุบาล...

การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองอนุบาล

สมองส่วนรับสัมผัส และส่วนเคลื่อนไหว ของเด็กปฐมวัย กำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว การจัดประสบการณ์การเรียนรู้จึงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาระบบการเคลื่อนไหว และระบบรับสัมผัสควบคู่ไปกับอารมณ์เชิงบวก แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain-Based Learning วางอยู่บนฐานคิดที่เข้าใจการทำงานของสมอง หลักการเรียนรู้ของสมอง สมองเป็นอวัยวะ พิเศษ ของร่างกาย ต้องการทั้ง อาหารกาย และ อาหารใจในสัดส่วนที่ ถูกต้อง เหมาะสม ตลอดช่วงอายุ ตั้งแต่ อยู่ในครรภ์มารดา ถึง วัยชราสมองต้องการ อาหารใจทั้งใน การเจริญเติบโต การเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้/การทำงาน...

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนวัยอนุบาล

เด็กและผู้ปกครอง คือส่วนหนึ่งของชุมชน จึงต้องเรียนรู้จักแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ผ่านกิจกรรมที่ได้ปฏิสัมพันธ์กับชุมชนด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การพัฒนาความฉลาดทางกาย พัฒนาการของเด็กอนุบาลเห็นได้ชัดจากความสามารถในควบคุม บังคับ สั่งการร่างกายตัวเองได้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่น สามารถเดิน วิ่ง กระโดด ปีน ขึ้น-ลงบันไดได้ ถ้าทำได้แล้วก็แสดงว่าสมองส่วนที่รับรู้สัมผัส และการสั่งการร่ายกายได้พัฒนามากขึ้นทุกที ผู้ปกครองรู้หรือไม่ เมื่อเด็กเติบโตถึงวัยอนุบาล เขาต้องการการเคลื่อนไหวร่างกายที่ซับซ้อน เขามีความมั่นใจในความสามารถทางร่างกายของเขาเอง...

การวัดและประเมินพัฒนาการอนุบาล

ประเมินพัฒนาการความก้าวหน้าเทียบกับตัวเด็กเอง เพื่อช่วยเหลือให้เด็กก้าวสู่ระดับที่สูงขึ้นด้วยพื้นฐานความเข้าใจที่มั่นคง การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ เป็นประสบการณ์ตรงที่กระตุ้นการทำงานของสมองเด็กโดยตรง การประเมิน เป็นการพยายามวัดผลการพัฒนา/การเรียนรู้ในเวลาที่กำหนด การประเมินผล เป็นกระบวนการที่ผู้สอนต้องการวัดผลดูว่า เด็กมีพัฒนาการเพียงใด หลังจากครูจัดกิจกรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ ให้ การประเมินผลที่ดีต้องติดตามดูกระบวนการเรียนรู้มากกว่าการตัดสินว่าเด็กทำได้หรือไม่ได้ ต้องเน้นกระบวนการและการพัฒนาก้าวหน้าของตัวเด็ก...

การออกแบบกระบวนการเรียนรู้วัยอนุบาล

สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีสิ่งจูงใจ สิ่งจูงใจจะชักนำให้สมองผลิตความรู้ และบันทึกข้อมูลในเรื่องที่ต้องการให้เรียนรู้ เป็นการตะล่อมสร้างกรอบให้กระบวนการเรียนรู้ดำเนินไปตามเจตจำนงของผู้จัดการเรียนรู้ รู้จักสมองก่อนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีสิ่งจูงใจ สิ่งจูงใจจะชักนำให้สมองผลิตความรู้ และบันทึกข้อมูลในเรื่องที่ต้องการให้เรียนรู้ เป็นการตะล่อมสร้างกรอบให้กระบวนการเรียนรู้ดำเนินไปตามเจตจำนงของผู้จัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นผู้หาสิ่งจูงใจต่างๆ นั้นมานำเสนอ ถ้าสิ่งจูงใจนั้นไม่สามารถจูงใจสมองได้...
Pages: Prev. 1 2 3 4 5 6 Next